การผลิดอกออกผลของลิ้นจี่นั้น ลิ้นจี่ค่อมต้องการอุณหภูมิต่ำกว่า

เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 120 ชั่วโมง และเมื่อมากระทบกับอากาศร้อน ลิ้นจี่จะผลิช่อดอกทันที หรือระหว่างที่ลิ้นจี่กำลังออกดอกติดผลเป็นตุ่มเล็กๆ เกิดฝนตกลงมา จะทำให้ลิ้นจี่แทงช่อใบอ่อนออกมาทันที จะไม่ติดผล ช่วงติดดอกต้องอย่าให้มีฝนตกลงมา

แต่ต้องสร้างความเข้าใจกับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะวัยรุ่นเสียก่อน คำว่า ต้นลิ้นจี่ อายุร่วม 200 ปีนี้ ต่างจากต้นไม้อื่นที่มีอายุนับ 100 ปี ที่ต้นสูงใหญ่หลายคนโอบและชอบถ่ายภาพเป็นที่ระลึกกัน เพราะต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปีไม่ได้สูงใหญ่เหมือนที่หลายคนคิดจะมาถ่ายภาพ หลายคนมาดูแล้วแสดงความผิดหวังยี้ปากยี้คอไม่พอใจ ทั้งยังเหน็บแนมเจ้าของสวนเสียอีก

การเดินทางส่วนใหญ่เดินทางมาด้วยรถยนต์ ถ้าจะเดินทางมาด้วยเรือต้องเช่าเรือหางยาวที่ตลาดอัมพวา มาขึ้นที่หน้าวัดบางเกาะเทพศักดิ์และเดินมาอีกนิดเดียว ทางรถยนต์หลังจากข้ามสะพานข้ามแม่น้ำแม่กลองที่วัดบางกะพ้อมแล้วเลี้ยวขวาเลียบตามแม่น้ำขึ้นไปจนถึงโรงพยาบาลอัมพวาตรงกันข้ามกับโรงพยาบาลมีป้ายซอยแควอ้อม 5 ให้เลี้ยวเข้าไปอีกไม่ไกลก็จะถึงต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปี หรือโทร.สอบถามข้อมูลก่อนได้ที่ คุณจิรศักดิ์ เฮงประเสริฐ โทร. (081) 253-3987

ทุกวันที่ 31 พฤษภาคม จะมีการทำบุญบำเพ็ญกุศลที่พลับพลาแห่งนี้ ชาวบ้านร่วมมือกันทำอาหารข้าวหม้อแกงหม้อถวายพระสงฆ์ ส่วนเครื่องไทยทานและสิ่งของอื่นๆ ในพิธีทางศาสนา วัดบางเกาะเทพศักดิ์จัดมาให้ ได้ทำติดต่อกันมา 4 ปีแล้ว

พระครูปิยะธรรมากร เจ้าอาวาสวัดบางเกาะเทพศักดิ์ ท่านบวชมาได้ 42 พรรษา (ปัจจุบัน อายุ 63 ปี) ท่านเป็นผู้มีบทบาทสำคัญตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบันที่ทำให้ลิ้นจี่ค่อมอัมพวาอายุเกือบ 200 ปี เป็นที่รู้จักและยืนหยัดอยู่มาจนทุกวัน ท่านยังปลูกจิตสำนึกให้คนในพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญของพลับพลาที่ประทับ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์เสด็จมาทอดพระเนตรต้นลิ้นจี่หนึ่งเดียวของอัมพวา ด้วยการทำบุญที่พลับพลารับเสด็จติดต่อกันมาหลายปี

ดังนั้น จึงขอเชิญนักท่องเที่ยว ประชาชนทั่วไป ได้มาเยี่ยมชมพลับพลาที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และชมต้นลิ้นจี่ค่อมอัมพวาอายุเกือบ 200 ปี ต้นนี้กัน ต่อจากนั้นจึงไปกราบหลวงพ่อเพชรมงคลอุดมโชค พระประธานองค์ใหญ่ปางสะดุ้งมาร ที่สร้างขึ้นในช่วงสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา มีอายุเก่าแก่เกือบ 200 ปี ในโบสถ์วัดบางเกาะเทพศักดิ์และขอพรกับเทพทันใจ ปีหน้าขอให้เทวดาเป็นใจให้อากาศหนาวติดต่อกัน 5 วัน และไม่ให้ฝนตกในช่วงออกดอกก็พอ แค่นี้ก็จะได้รับประทานลิ้นจี่อัมพวาและมีงานวันลิ้นจี่แน่นอน

โครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะ ประเทศญี่ปุ่น เกิดจากการร่วมมือกันสร้างสรรค์โมเดลธุรกิจเพื่อการเกษตรเข้มแข็งและสามารถปรับตัวได้โดยใช้ประโยชน์จากแหล่งความรู้อันหลากหลายโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะเกิดจากการร่วมทุนกันระหว่างบริษัทฟูจิตสึ โอริกซ์ และมาสึดะ ซีด โดยบริษัทชั้นนำ 3 บริษัทได้จับมือกันจัดทำโครงการนวัตกรรมทางเกษตรกรรม โดยบริษัทแรกเป็นบริษัทที่มีเครือข่ายการจัดจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรที่แข็งแกร่ง ส่วนบริษัทที่สองเป็นบริษัทที่ทำธุรกิจด้านเรือนเพาะชำพืชการเกษตรที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ที่หลากหลาย และบริษัทที่สามคือบริษัทที่ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีทักษะความชำนาญในด้านเทคโนโลยีดิจิตอล

นาย มาซายูกิ คุราชินา ผู้จัดการทั่วไป แผนกธุรกิจการเกษตรบริษัท โอริกซ์ คอร์ปอเรชั่น และ กรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท มาสึดะ ซีด จำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ต้องการผลักดันพืชผลและเมล็ดพันธุ์อันหลากหลายของญี่ปุ่นเข้าสู่ตลาดระดับโลก โดยการวางตัวโครงการใหม่นี้ให้เป็นห้องแสดงสินค้าพืชผลและเมล็ดพันธุ์ นั่นเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกันนี้

ปัญหาด้านโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ในตลาดการส่งออกผลผลิตการเกษตรอันแข็งแกร่งของญี่ปุ่นการส่งออกของโภคภัณฑ์ทางการเกษตรที่เจริญเติบโตของญี่ปุ่นอันเนื่องมาจากความนิยมในอาหารญี่ปุ่นที่ขยายวงกว้างไปทั่วโลกส่งผลให้ตัวเลขส่งออกในปี 2015 อยู่ที่ 443,200 ล้านเยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.2 จากปีก่อน หากดูจากตัวเลขอย่างเดียว ก็อาจกล่าวได้ว่าอุตสาหกรรมการเกษตรของญี่ปุ่นนั้นมีอนาคตที่สดใสมาก แต่หากวิเคราะห์ให้ถี่ถ้วนขึ้นก็จะพบว่า อุตสาหกรรมนี้มีปัญหาทางด้านโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข หากยังต้องการที่จะเจริญเติบโตต่อไปเรื่อยๆปัญหาประการแรกคือ องค์กรการเกษตรส่วนใหญ่มีขนาดเล็กและขาดแคลนทรัพยากรเพื่อใช้ลงทุนในการพัฒนานวัตกรรม และการผลักดันให้อุตสาหกรรมนี้เจริญเติบโตสูงขึ้น

นอกจากนี้ ปัญหาที่สำคัญอีกอย่างคือ เกษตรกรชาวญี่ปุ่นในปัจจุบันเริ่มชราภาพลงไปทุกวันและหากคนรุ่นใหม่ๆ ไม่ต้องการที่จะทำงานในอุตสาหกรรมนี้ จำนวนเกษตรกรก็จะลดลงเรื่อยๆ ซึ่งนำไปสู่ปัญหาพื้นที่ทางการเกษตรถูกละทิ้งหรือไร้การเพาะปลูก และผลที่ได้ก็คือ ผลิตผลทางการเกษตรจะมีจำนวนน้อยลง และส่งผลกระทบในเชิงลบต่อเศรษฐกิจระดับภูมิภาคธุรกิจการเกษตรได้กลายมาเป็นธุรกิจระดับโลก และมีการแข่งขันกันที่สูงขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้หมายความว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศญี่ปุ่นจำเป็นต้องลุกขึ้นมาพลิกโฉมอุตสาหกรรมการเกษตรของตนเองใหม่อีกครั้งเชื่อมต่อกับตลาด ผู้ผลิต และธุรกิจเรือนเพาะชำด้วยบริการระบบคลาวด์เพื่อธุรกิจอาหารและเกษตรกรรม “Akisai” ของฟูจิตสึ

จึงได้เข้าไปเกี่ยวข้องในโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะมากมาย เพื่อมีส่วนร่วมช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรกรรมนี้มาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2012 โดยโครงการเหล่านี้มีเป้าหมายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากแหล่งความรู้และข้อมูลต่างๆ และจากผู้ประกอบการหลายราย อันจะนำไปสู่การพัฒนาระดับภูมิภาค ผ่านภาคการเกษตรที่มีความเข้มแข็งขึ้นสิ่งนี้ได้สร้างความท้าทายให้กับฟูจิตสึอย่างมาก เพราะบริษัทได้ก้าวเข้าสู่โลกธุรกิจเกษตรกรรมในฐานะเจ้าของกิจการ ไม่ใช่ผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพียงอย่างเดียวโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะใหม่ในเขตอิวาตะนี้ เป็นหนึ่งในโครงการริเริ่มด้านเกษตรกรรมอัจฉริยะแรกๆ ที่ฟูจิตสึเข้าไปร่วมดำเนินการ และได้เปิดตัวโดยมีเป้าหมายในการสร้างรากฐานเกษตรกรรมให้มีความเข้มแข็ง

โดยจุดแข็งของโอริกซ์ คือความเชี่ยวชาญในการประเมินความต้องการของผู้ให้บริการด้านอาหารและอุตสาหกรรมค้าปลีกได้เป็นอย่างดี โดยมีเครือข่ายการกระจายสินค้าทางการเกษตรสำหรับลูกค้าระดับประเทศที่หลากหลายผ่านบริการทางการเงินของบริษัท จุดแข็งข้อนี้ มีการนำไปใช้ประโยชน์ร่วมกับวิธี ‘Market-in’ ซึ่งจะมีการวางแผนการผลิตโดยอ้างอิงจากความต้องการของลูกค้า ที่มีการตั้งเป้าไว้ว่า หากวิธีการนี้สามารถระบุประเภทของผักที่ผู้บริโภคต้องการในร้านค้าปลีกต่างๆ ได้ ก็จะเป็นการช่วยกระตุ้นให้ผู้ผลิตตอบรับความท้าทายในการผลิตพืชผลใหม่ๆ ที่มีความหลากหลายขึ้นโครงการนี้จะยังสร้างประโยชน์ต่อธุรกิจเรือนเพาะชำพืชและเมล็ดพันธุ์ที่มีการทำการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตรอีกด้วยในปัจจุบันธุรกิจดังกล่าวยังคงเป็นความลับที่ยังไม่ได้รับเปิดเผยอยู่เกษตรกรชาวญี่ปุ่นมีการติดต่อกับตลาดนานาชาติน้อยมาก และพันธุ์พืชที่เกษตรกรเหล่านี้มีการเฝ้าบ่มเพาะด้วยความยากลำบากก็ยังไม่ได้รับการเปิดเผยในตลาดดังกล่าว

อย่างไรก็ดี โครงการใหม่นี้ควรมีการแก้ปัญหาโดยการเป็นตัวแทนระหว่างตลาด ผู้ผลิต และธุรกิจเรือนเพาะชำซึ่งการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกันนี้ได้เอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจเรือนเพาะชำอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากที่ตอนนี้มีหลายบริษัทติดต่อบริษัท มาสึดา ซีด เพื่อขอเข้าร่วมเป็นผู้ค้าในโครงการใหม่นี้แล้วจัดตั้งรูปแบบเกษตรกรรมใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอลอย่างเต็มที่โครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะจะจัดตั้งรูปแบบเกษตรกรรมใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอล เช่น เซ็นเซอร์ระบบเครือข่าย และระบบคลาวด์อย่างเต็มที่ โดยจะเริ่มจากการตอบสนองอุปสงค์ของตลาดที่มีความต้องการมะเขือเทศ พริกหยวก และผักคะน้าอย่างมาก

โรงงานเพาะปลูกจะประกอบด้วยเรือนกระจกขนาดใหญ่หลายหลังจะสร้างไว้ในเมืองอิวาตะ จังหวัดชิซูโอกะ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีปริมาณแสงแดดมากกว่าเฉลี่ยของประเทศถึงร้อยละ 15 ต่อปี ดังนั้นจึงเหมาะแก่การปลูกพืชในเรือนกระจกอย่างยิ่ง ในการวัดอุณหภูมิความชื้นระดับคาร์บอนไดออกไซด์ และความเข้มข้นของสารไฮโดรโปนิกส์จะมีการใช้เซ็นเซอร์ที่จะติดตั้งไว้ในเรือนกระจกเหล่านี้ข้อมูลที่เซ็นเซอร์นี้จับได้จะส่งไปจัดเก็บที่คลาวด์ของระบบอาหารและเกษตรกรรม “Akisai” ของฟูจิตสึ การติดตามอุณหภูมิในห้องเรือนกระจกแบบเรียลไทม์จากทางไกล รวมทั้งการเปิดและปิดหน้าต่างการเริ่มและหยุดพัดลมดูดอากาศ การควบคุมอุณหภูมิ อากาศ และฟังก์ชั่นอื่นๆ ที่มีการดำเนินการจากทางไกล ทั้งหมดจะค่อยๆ ช่วยสร้างความเข้าใจทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับวิธีบำรุงรักษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมที่สุด สำหรับการปลูกพืชผักในอนาคต ข้อมูลประสิทธิภาพการเพาะปลูกที่มีการจัดเก็บไว้ใน Akisai จะรวมการตั้งค่าเซ็นเซอร์ที่เหมาะสมที่สุดสำหรับเมล็ดพันธุ์แต่ละชนิดเอาไว้ด้วย นอกจากนี้ จะมีการรวบรวมวิธีการควบคุมสภาพแวดล้อมเรือนกระจกเข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาธุรกิจการออกใบอนุญาตที่จะให้ได้มาซึ่งผลิตผลและคุณภาพที่มีความเสถียร

นาย ทาเคชิ ชูโดะ รองผู้จัดการหน่วยงาน สำนักวางแผนนวัตกรรมแบบเปิดด้านเกษตรกรรมและอาหาร ประจำหน่วยธุรกิจด้านนวัตกรรมของฟูจิตสึ กล่าวว่า วัตถุประสงค์ของบริษัทคือการเป็นกำลังขับเคลื่อนสำคัญที่สนับสนุนนวัตกรรมด้านเกษตรกรรมในประเทศญี่ปุ่น ผ่านการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกัน และเพื่อให้มีส่วนช่วยในการทำให้เศรษฐกิจระดับภูมิภาคกลับมาคึกคักอีกครั้งผ่านภาคการเกษตรหน้าจอติดตามดูสภาวะของเรือนเพาะชำ

ในปี พ.ศ. 2560 จังหวัดสมุทรสงคราม ไม่มีผลผลิตลิ้นจี่ออกมา และไม่มีการจัดงานวันลิ้นจี่เช่นกัน จังหวัดสมุทรสงครามว่างเว้นจากการจัดงานวันลิ้นจี่ติดต่อกันมาแล้วถึง 3 ปี ด้วยเหตุที่ไม่มีผลลิ้นจี่ออกมาจำหน่าย

งานวันลิ้นจี่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นที่สนใจของนักชิมนักท่องเที่ยวอย่างมาก อาจเป็นเพราะมีรสชาติต่างจากลิ้นจี่ทางภาคเหนือและอยู่ใกล้กรุงเทพฯ การเดินทางสะดวกสบาย สามารถเดินทางไปกลับได้ในวันเดียว ลิ้นจี่เป็นผลไม้เสี่ยงทายที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกันกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์และไสยศาสตร์ใดๆ ดังนั้น จึงไม่ต้องไปบนบานศาลกล่าวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะไม่สามารถมาช่วยได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ อะไรก็มาช่วยไม่ได้กับความไม่แน่นอนของสภาพภูมิอากาศ ปีใดฟ้าฝนเป็นใจปีนั้นก็จะมีลิ้นจี่ออกมา

เพราะความไม่แน่นอนของการออกดอกติดผลของลิ้นจี่ ทำให้เจ้าของสวนลิ้นจี่บางสวนต้องโค่นต้นลิ้นจี่ลง เพราะมันไม่คุ้มกันกับการรอที่ไม่ได้รับผลประโยชน์ในแต่ละปี บางสวนหันมาปลูกส้มโอขาวใหญ่ที่ให้ผลผลิตตลอดปีราคาดี มีรายได้ต่อเนื่องทั้งปี ในอดีตจังหวัดสมุทรสงครามเคยมีพื้นที่ปลูกประมาณ 20,000 ไร่ ปัจจุบัน เหลือพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ ประมาณ 7,500 ไร่ ปลูกกันทั้ง 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนที เมื่อปีใดมีลิ้นจี่ออกมามากพอก็จะมีการจัดงานวันลิ้นจี่ในปีนั้น

เดิมทีนั้นกล่าวกันว่า การจัดงานวันลิ้นจี่ เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2510 จากการรวมตัวกันของชาวสวนในตำบลแควอ้อม ตำบลเหมืองใหม่ ของอำเภออัมพวา ชาวสวนจากตำบลบางสะแก ตำบลบางกุ้ง ของอำเภอบางคนที มาจัดที่บริเวณวัดบางเกาะเทพศักดิ์ อำเภออัมพวา เป็นการจัดเพื่อให้ชาวสวนได้มีโอกาสมาพบปะกันและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในท้องถิ่น ซึ่งยังไม่ใช่เป็นการจัดงานเปิดตัวอย่างเป็นทางการ

การจัดงานวันลิ้นจี่อย่างเป็นทางการเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อช่วงเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2512 ที่วัดอินทราราม ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในครั้งนั้นมี นายสุดใจ กรรณเลขา นายอำเภออัมพวา เป็นเจ้าภาพการจัดงาน นายธวัชชัย เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม มาเป็นประธานเปิดงาน งานนี้เกิดขึ้นจากการรวมตัวของเกษตรกรชาวสวนผู้ปลูกลิ้นจี่ในตำบลเหมืองใหม่และตำบลที่ติดต่อกัน โดยมี กำนันสวัสดิ์ เพ็งอุดม เป็นแกนนำคนสำคัญในการชักชวนชาวสวนลิ้นจี่ ประมาณ 70-80 คน ตั้งเป็นกลุ่มชาวสวนลิ้นจี่ นำผลลิ้นจี่พันธุ์ต่างๆ มาร่วมงาน ต่อในปี พ.ศ. 2514 ได้รวมเอางานวันเกษตรกรมารวมกับงานวันลิ้นจี่ จัดขึ้นที่วัดบางสะแก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

กำนันสวัสดิ์ เพ็งอุดม อดีตกำนันตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ผู้บุกเบิกการปรับเปลี่ยนวิถีชาวสวนในอดีต มาสู่การทำสวนผลไม้ กำนันสวัสดิ์ได้รวบรวมเกษตรกรที่สนใจรวมกลุ่มกันตั้งเป็น “กลุ่มเกษตรกรทำสวนลิ้นจี่” มีกำนันเป็นประธาน ในปี พ.ศ. 2510 กำนันสวัสดิ์ ร่วมมือกับทางกสิกรรมจังหวัด (ปัจจุบันเป็นเกษตรจังหวัด) ทำแปลงสาธิตผลไม้ ได้โค่นต้นมะพร้าวลงจำนวนหนึ่ง ซึ่งไม่ค่อยมีใครกล้าเสี่ยงกัน เพราะมะพร้าวเป็นพืชหลักทำรายได้ เพื่อเปลี่ยนเป็นแปลงสาธิตลิ้นจี่แปลงแรกของจังหวัด บนพื้นที่สวนของกำนัน โดยใช้ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม (หอมลำเจียก) เป็นหลัก เนื่องจากเป็นพันธุ์เบา ให้ผลดก ตกผลง่าย

ปัจจุบัน แปลงสาธิตแห่งนี้ ทายาทยังคงดูแลรักษาไว้ และเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาชม

แม้ว่าลิ้นจี่เป็นพืชเสี่ยงดวง ไม่สามารถให้การรับรองได้ว่าจะให้ผลผลิตทุกปี แต่ยังมีอีกหลายสวนที่รอความหวังว่าจะได้ลิ้นจี่ในปีต่อไป ลิ้นจี่ค่อม หรือ “อีค่อม” เป็นพันธุ์ที่ปลูกมากที่สุดในจังหวัดสมุทรสงคราม

ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม หรือ “อีค่อม” เชื่อว่ามีการปลูกกันมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2340 ในท้องที่ตำบลบางสะแก อำเภอบางคนที และตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม แต่ไม่สามารถหาสถานที่ตำแหน่งของต้นลิ้นจี่ที่มีอายุ 200 ปีนี้ อยู่ในสวนของใคร เพื่อใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้

การแพร่กระจายพันธุ์ของลิ้นจี่ค่อมนั้นเริ่มขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2509 โดย คุณศิริ เล็กสุวรรณ เป็นผู้นำกิ่งตอนลิ้นจี่พันธุ์ค่อมจาก พระครูสมุทรวรกิจ (หริ่ม ขจรผล) วัดบางเกาะเทพศักดิ์ อำเภออัมพวา ไปปลูก หลังจากนั้นได้ขยายพันธุ์กระจายไปทั่วจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งกิ่งตอนลิ้นจี่วัดบางเกาะเทพศักดิ์นี้ก็มาจากต้นที่ปลูกไว้เมื่อ ปี พ.ศ. 2397 เป็นต้นที่มีอยู่จริง ต้นลิ้นจี่พันธุ์ค่อมที่อายุเกือบ 200 ปี อยู่หมู่ที่ 5 ตำบลแควอ้อม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

ต้นลิ้นจี่พันธุ์ค่อมที่อายุเกือบ 200 ปีนี้ เป็นต้นลิ้นจี่ค่อมที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาทอดพระเนตร เมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ลิ้นจี่ต้นนี้ได้ปลูกไว้เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2397 ใกล้กับวัดบางเกาะเทพศักดิ์ เป็นสวนของ ยายพลู สนธิสุวรรณ ขณะนั้น (วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) ยายพลู มีอายุ 74 ปี ได้มีโอกาสเข้าเฝ้า สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่พลับพลาที่ทางจังหวัดจัดสร้างถวายเพื่อประทับ

ในครั้งนั้น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาโดยเรือยนต์ของกรมเจ้าท่า จากท่าน้ำอุทยาน ร. 2 เมื่อถึงวัดบางเกาะเทพศักดิ์เสด็จขึ้นที่ท่าเรือวัดบางเกาะเทพศักดิ์ เวลาประมาณ 15 นาฬิกา ท่านพระครูปิยะธรรมากร เจ้าอาวาสวัดบางเกาะเทพศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มแม่บ้าน และราษฎรรอเฝ้ารับเสด็จจำนวนมาก สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้กราบนมัสการหลวงพ่อเพชรมงคลอุดมโชค พระประธานในพระอุโบสถและทรงสนทนากับพระครูปิยะธรรมากรเจ้าอาวาสเป็นเวลาร่วมชั่วโมง ต่อจากนั้นทรงพระดำเนินมายังต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปี ระยะทางจากวัดบางเกาะเทพศักดิ์ห่างกันประมาณ 500 เมตร ถนนเป็นเพียงทางเท้าใช้เดินตามร่องสวน พระครูปิยะธรรมากร ได้เดินตามในขบวนเสด็จด้วย

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงประทับอยู่ที่พลับพลาทอดพระเนตรต้นลิ้นจี่ ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ลิ้นจี่ไม่มีผล พลับพลาอยู่ตรงกันข้ามกับต้นลิ้นจี่ และทรงซักถามเกี่ยวกับต้นลิ้นจี่ ใช้เวลาประทับอยู่ประมาณครึ่งชั่วโมงจึงเสด็จกลับ เวลาประมาณ 17 นาฬิกา ในการเสด็จครั้งนั้นมีนักศึกษาต่างชาติตามเสด็จมาด้วยประมาณ 100 คน โดยใช้เรือยนต์ข้ามฟากลำใหญ่ของแสงวณิช

ซึ่งในขณะนั้นเส้นทางจากวัดไปถึงสวนลิ้นจี่เป็นทางเท้าพื้นดินไม่เรียบ พระครูปิยะธรรมากร ได้มอบเงิน 20,000 บาท ให้กับทางกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และลูกบ้าน ไปจัดซื้อดินลูกรังและให้รถเกรดมาเกรดให้เรียบเป็นถนนเริ่มจากวัดบางแคกลาง จนเป็นถนนเดินได้สะดวกขึ้น ต่อมาทางองค์การบริหารส่วนตำบลแควอ้อมได้งบประมาณมาราดยางถนน ได้จัดป้ายหินบอกถึงการเสด็จ และสร้างพลับพลาหลังใหม่แทนพลับพลาหลังเดิม

ต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปี ต้นนี้ นายติ มีแก้วกุญชร มีอาชีพรับจ้างจารหนังสือขอม อยู่ที่ตรอกจันทน์ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ได้นำเมล็ดลิ้นจี่จากประเทศจีนมาปลูกบนพื้นที่แห่งนี้ เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2394 นายติ มีแก้วกุญชร เป็นญาติพี่น้องกันกับ ยายพลู สนธิสุวรรณ ลิ้นจี่ปลูกก่อนยายพลูเกิด 59 ปี ต่อมายายพลูได้เป็นผู้สืบทอดสวนนี้

และเมื่อยายพลู สนธิสุวรรณ ถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2548 ขณะอายุได้ 92 ปี สวนลิ้นจี่จึงตกทอดมาเป็นของ นางพราว เฮงประเสริฐ ซึ่งเป็นน้องสาวของ ยายพลู สนธิสุวรรณ เนื่องจาก ยายพลู สนธิสุวรรณ ไม่มีครอบครัว ปัจจุบัน นางพราว เฮงประเสริฐ อายุได้ 94 ปี (พ.ศ. 2560) ไม่สามารถดูแลสวนลิ้นจี่ได้มานานแล้ว จึงมอบให้ นายจิรศักดิ์ เฮงประเสริฐ (อายุ 61 ปี) บุตรชาย เป็นผู้ดูแลสวน ต้นลิ้นจี่มีความสูงประมาณ 12 เมตรเคยสูงกว่านั้นต้องตัดส่วนยอดออกไปบ้าง เพื่อความสะดวกในการดูแลรักษา ความกว้างประมาณคนโอบได้

ใกล้กับต้นลิ้นจี่ค่อมอายุเกือบ 200 ปี มีลิ้นจี่ต้นใหญ่ไล่เลี่ยกันอยู่คู่กันอายุเป็นร้อยปี เป็นลิ้นจี่พันธุ์ไทยโบราณ ชื่อ “ลิ้นจี่ไผ่ใบอ้อ” เป็นพันธุ์ที่มีใบแหลม ติดช่อดอกมาก ช่อดอกใหญ่แต่ติดผลน้อย ผลใหญ่ มีหนามแหลมใหญ่และยาว รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นพันธุ์ที่หายากนับวันจะสูญพันธุ์ไป เนื่องจากรสชาติไม่หวาน แต่มีคุณสมบัติอย่างอื่นดีอยู่บ้าง ทางเกษตรอำเภอแนะนำให้เก็บรักษาต้นลิ้นจี่พันธุ์ไทยโบราณไว้ อย่าได้โค่นทิ้ง เพราะมันจะเป็นตัวช่วยล่อผึ้งให้เข้ามาในสวนและช่วยผสมเกสรให้กับลิ้นจี่ทั้งสวนได้ เนื่องจากลิ้นจี่พันธุ์ไทยโบราณดอกมีกลิ่นหอม ช่อดอกใหญ่มากจึงดึงดูดผึ้งได้ดี

นายจิรศักดิ์ มีสวนลิ้นจี่อยู่ 2 ไร่ ทำเป็นสวนยกร่อง มีน้ำไหลเข้าออกตลอด ปลูกลิ้นจี่ได้ 60 ต้น รวมกับต้นที่มีอายุเกือบ 200 ปี ด้วย ปลูกพันธุ์ค่อมและพันธุ์ไทยใหญ่ ก่อนหน้านั้นนายจิรศักดิ์หรือนายเหมียว เป็นช่างซ่อมเครื่องเสียง จบชั้น ม.ศ. 3 (สมัยนั้นเป็น ม.ศ.) จากโรงเรียนสายธรรมจันทร์ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี แล้วไปเรียนฝึกวิชาชีพด้านเครื่องเสียง ออกฝึกงานในกรุงเทพฯ อยู่ 3 ปี จึงกลับมาบ้านแควอ้อม รับจ้างซ่อมเครื่องเสียง เมื่อสายตาไม่ดีจึงมาทุ่มเทกับการทำสวนลิ้นจี่

ซึ่งระหว่างที่รับซ่อมเครื่องเสียง ถ้าไม่มีงานเข้าก็จะเข้าสวนลิ้นจี่ ที่กลางสวนลิ้นจี่มีมะม่วงมันทองเอกโดดเด่นอยู่ 1 ต้น ลำต้นสูงตรง กำลังติดผล เป็นมะม่วงเก่าแก่ที่ปลูกมานานแล้ว นายจิรศักดิ์ ยืนยันว่าเป็นมะม่วงที่อร่อยที่สุดปลูกไว้รับประทานเอง มีมากก็จะแจกไม่ได้ขายใคร ก่อนที่ลิ้นจี่จะออกดอกจะพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลง เมื่อดอกเริ่มบานจะไม่มีการพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลง เพื่อปล่อยให้ผึ้งได้มาช่วยผสมเกสร แต่เมื่อติดผลเริ่มโตเท่าหัวไม้ขีดจึงพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลง (พวกเซฟวิน) อีกครั้ง และใช้ฮอร์โมนน้ำพวกสาหร่ายฉีดพ่น จนกระทั่งผลใหญ่ออกเป็นสีส้มหรือที่ชาวสวนเรียกว่า สีหัวกิ้งก่า จะพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงเป็นครั้งสุดท้าย การใส่ปุ๋ยบำรุงต้นลิ้นจี่ ใส่ปุ๋ย สูตร 16-16-16 ต้นละ 1 กิโลกรัม ต้นใหญ่อาจใส่ 3 กิโลกรัม ผสมกับการใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยขี้ค้างคาว (ราคาปุ๋ย กระสอบละ 650 บาท) การกำจัดหญ้าใช้เครื่องตัดหญ้า หญ้าน้อยก็จะใช้มีดดาย

การผลิดอกออกผลของลิ้นจี่นั้น ลิ้นจี่ค่อมต้องการอุณหภูมิต่ำกว่า 20 องศาเซลเซียส เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 120 ชั่วโมง และเมื่อมากระทบกับอากาศร้อน ลิ้นจี่จะผลิช่อดอกทันที หรือระหว่างที่ลิ้นจี่กำลังออกดอกติดผลเป็นตุ่มเล็กๆ เกิดฝนตกลงมา จะทำให้ลิ้นจี่แทงช่อใบอ่อนออกมาทันที จะไม่ติดผล ช่วงติดดอกต้องอย่าให้มีฝนตกลงมา

แต่ต้องสร้างความเข้าใจกับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะวัยรุ่นเสียก่อน คำว่า ต้นลิ้นจี่ อายุร่วม 200 ปีนี้ ต่างจากต้นไม้อื่นที่มีอายุนับ 100 ปี ที่ต้นสูงใหญ่หลายคนโอบและชอบถ่ายภาพเป็นที่ระลึกกัน เพราะต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปีไม่ได้สูงใหญ่เหมือนที่หลายคนคิดจะมาถ่ายภาพ หลายคนมาดูแล้วแสดงความผิดหวังยี้ปากยี้คอไม่พอใจ ทั้งยังเหน็บแนมเจ้าของสวนเสียอีก

การเดินทางส่วนใหญ่เดินทางมาด้วยรถยนต์ ถ้าจะเดินทางมาด้วยเรือต้องเช่าเรือหางยาวที่ตลาดอัมพวา มาขึ้นที่หน้าวัดบางเกาะเทพศักดิ์และเดินมาอีกนิดเดียว ทางรถยนต์หลังจากข้ามสะพานข้ามแม่น้ำแม่กลองที่วัดบางกะพ้อมแล้วเลี้ยวขวาเลียบตามแม่น้ำขึ้นไปจนถึงโรงพยาบาลอัมพวาตรงกันข้ามกับโรงพยาบาลมีป้ายซอยแควอ้อม 5 ให้เลี้ยวเข้าไปอีกไม่ไกลก็จะถึงต้นลิ้นจี่อายุร่วม 200 ปี หรือโทร.สอบถามข้อมูลก่อนได้ที่ คุณจิรศักดิ์ เฮงประเสริฐ โทร. (081) 253-3987

ทุกวันที่ 31 พฤษภาคม จะมีการทำบุญบำเพ็ญกุศลที่พลับพลาแห่งนี้ ชาวบ้านร่วมมือกันทำอาหารข้าวหม้อแกงหม้อถวายพระสงฆ์ ส่วนเครื่องไทยทานและสิ่งของอื่นๆ ในพิธีทางศาสนา วัดบางเกาะเทพศักดิ์จัดมาให้ ได้ทำติดต่อกันมา 4 ปีแล้ว

พระครูปิยะธรรมากร เจ้าอาวาสวัดบางเกาะเทพศักดิ์ ท่านบวชมาได้ 42 พรรษา (ปัจจุบัน อายุ 63 ปี) ท่านเป็นผู้มีบทบาทสำคัญตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบันที่ทำให้ลิ้นจี่ค่อมอัมพวาอายุเกือบ 200 ปี เป็นที่รู้จักและยืนหยัดอยู่มาจนทุกวัน ท่านยังปลูกจิตสำนึกให้คนในพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญของพลับพลาที่ประทับ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์เสด็จมาทอดพระเนตรต้นลิ้นจี่หนึ่งเดียวของอัมพวา ด้วยการทำบุญที่พลับพลารับเสด็จติดต่อกันมาหลายปี

ดังนั้น จึงขอเชิญนักท่องเที่ยว ประชาชนทั่วไป ได้มาเยี่ยมชมพลับพลาที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และชมต้นลิ้นจี่ค่อมอัมพวาอายุเกือบ 200 ปี ต้นนี้กัน ต่อจากนั้นจึงไปกราบหลวงพ่อเพชรมงคลอุดมโชค พระประธานองค์ใหญ่ปางสะดุ้งมาร ที่สร้างขึ้นในช่วงสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา มีอายุเก่าแก่เกือบ 200 ปี ในโบสถ์วัดบางเกาะเทพศักดิ์และขอพรกับเทพทันใจ ปีหน้าขอให้เทวดาเป็นใจให้อากาศหนาวติดต่อกัน 5 วัน และไม่ให้ฝนตกในช่วงออกดอกก็พอ แค่นี้ก็จะได้รับประทานลิ้นจี่อัมพวาและมีงานวันลิ้นจี่แน่นอน

โครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะ ประเทศญี่ปุ่น เกิดจากการร่วมมือกันสร้างสรรค์โมเดลธุรกิจเพื่อการเกษตรเข้มแข็งและสามารถปรับตัวได้โดยใช้ประโยชน์จากแหล่งความรู้อันหลากหลายโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะเกิดจากการร่วมทุนกันระหว่างบริษัทฟูจิตสึ โอริกซ์ และมาสึดะ ซีด โดยบริษัทชั้นนำ 3 บริษัทได้จับมือกันจัดทำโครงการนวัตกรรมทางเกษตรกรรม โดยบริษัทแรกเป็นบริษัทที่มีเครือข่ายการจัดจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรที่แข็งแกร่ง ส่วนบริษัทที่สองเป็นบริษัทที่ทำธุรกิจด้านเรือนเพาะชำพืชการเกษตรที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ที่หลากหลาย และบริษัทที่สามคือบริษัทที่ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีทักษะความชำนาญในด้านเทคโนโลยีดิจิตอล

นาย มาซายูกิ คุราชินา ผู้จัดการทั่วไป แผนกธุรกิจการเกษตรบริษัท โอริกซ์ คอร์ปอเรชั่น และ กรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท มาสึดะ ซีด จำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ต้องการผลักดันพืชผลและเมล็ดพันธุ์อันหลากหลายของญี่ปุ่นเข้าสู่ตลาดระดับโลก โดยการวางตัวโครงการใหม่นี้ให้เป็นห้องแสดงสินค้าพืชผลและเมล็ดพันธุ์ นั่นเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกันนี้

ปัญหาด้านโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ในตลาดการส่งออกผลผลิตการเกษตรอันแข็งแกร่งของญี่ปุ่นการส่งออกของโภคภัณฑ์ทางการเกษตรที่เจริญเติบโตของญี่ปุ่นอันเนื่องมาจากความนิยมในอาหารญี่ปุ่นที่ขยายวงกว้างไปทั่วโลกส่งผลให้ตัวเลขส่งออกในปี 2015 อยู่ที่ 443,200 ล้านเยน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.2 จากปีก่อน หากดูจากตัวเลขอย่างเดียว ก็อาจกล่าวได้ว่าอุตสาหกรรมการเกษตรของญี่ปุ่นนั้นมีอนาคตที่สดใสมาก แต่หากวิเคราะห์ให้ถี่ถ้วนขึ้นก็จะพบว่า อุตสาหกรรมนี้มีปัญหาทางด้านโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไข หากยังต้องการที่จะเจริญเติบโตต่อไปเรื่อยๆปัญหาประการแรกคือ องค์กรการเกษตรส่วนใหญ่มีขนาดเล็กและขาดแคลนทรัพยากรเพื่อใช้ลงทุนในการพัฒนานวัตกรรม และการผลักดันให้อุตสาหกรรมนี้เจริญเติบโตสูงขึ้น

นอกจากนี้ ปัญหาที่สำคัญอีกอย่างคือ เกษตรกรชาวญี่ปุ่นในปัจจุบันเริ่มชราภาพลงไปทุกวันและหากคนรุ่นใหม่ๆ ไม่ต้องการที่จะทำงานในอุตสาหกรรมนี้ จำนวนเกษตรกรก็จะลดลงเรื่อยๆ ซึ่งนำไปสู่ปัญหาพื้นที่ทางการเกษตรถูกละทิ้งหรือไร้การเพาะปลูก และผลที่ได้ก็คือ ผลิตผลทางการเกษตรจะมีจำนวนน้อยลง และส่งผลกระทบในเชิงลบต่อเศรษฐกิจระดับภูมิภาคธุรกิจการเกษตรได้กลายมาเป็นธุรกิจระดับโลก และมีการแข่งขันกันที่สูงขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้หมายความว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศญี่ปุ่นจำเป็นต้องลุกขึ้นมาพลิกโฉมอุตสาหกรรมการเกษตรของตนเองใหม่อีกครั้งเชื่อมต่อกับตลาด ผู้ผลิต และธุรกิจเรือนเพาะชำด้วยบริการระบบคลาวด์เพื่อธุรกิจอาหารและเกษตรกรรม “Akisai” ของฟูจิตสึ จึงได้เข้าไปเกี่ยวข้องในโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะมากมาย เพื่อมีส่วนร่วมช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรกรรมนี้มาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2012 โดยโครงการเหล่านี้มีเป้าหมายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากแหล่งความรู้และข้อมูลต่างๆ และจากผู้ประกอบการหลายราย อันจะนำไปสู่การพัฒนาระดับภูมิภาค ผ่านภาคการเกษตรที่มีความเข้มแข็งขึ้นสิ่งนี้ได้สร้างความท้าทายให้กับฟูจิตสึอย่างมาก เพราะบริษัทได้ก้าวเข้าสู่โลกธุรกิจเกษตรกรรมในฐานะเจ้าของกิจการ ไม่ใช่ผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพียงอย่างเดียวโครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะใหม่ในเขตอิวาตะนี้ เป็นหนึ่งในโครงการริเริ่มด้านเกษตรกรรมอัจฉริยะแรกๆ ที่ฟูจิตสึเข้าไปร่วมดำเนินการ และได้เปิดตัวโดยมีเป้าหมายในการสร้างรากฐานเกษตรกรรมให้มีความเข้มแข็ง

โดยจุดแข็งของโอริกซ์ คือความเชี่ยวชาญในการประเมินความต้องการของผู้ให้บริการด้านอาหารและอุตสาหกรรมค้าปลีกได้เป็นอย่างดี โดยมีเครือข่ายการกระจายสินค้าทางการเกษตรสำหรับลูกค้าระดับประเทศที่หลากหลายผ่านบริการทางการเงินของบริษัท จุดแข็งข้อนี้ มีการนำไปใช้ประโยชน์ร่วมกับวิธี ‘Market-in’ ซึ่งจะมีการวางแผนการผลิตโดยอ้างอิงจากความต้องการของลูกค้า ที่มีการตั้งเป้าไว้ว่า หากวิธีการนี้สามารถระบุประเภทของผักที่ผู้บริโภคต้องการในร้านค้าปลีกต่างๆ ได้ ก็จะเป็นการช่วยกระตุ้นให้ผู้ผลิตตอบรับความท้าทายในการผลิตพืชผลใหม่ๆ ที่มีความหลากหลายขึ้นโครงการนี้จะยังสร้างประโยชน์ต่อธุรกิจเรือนเพาะชำพืชและเมล็ดพันธุ์ที่มีการทำการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตรอีกด้วยในปัจจุบันธุรกิจดังกล่าวยังคงเป็นความลับที่ยังไม่ได้รับเปิดเผยอยู่เกษตรกรชาวญี่ปุ่นมีการติดต่อกับตลาดนานาชาติน้อยมาก และพันธุ์พืชที่เกษตรกรเหล่านี้มีการเฝ้าบ่มเพาะด้วยความยากลำบากก็ยังไม่ได้รับการเปิดเผยในตลาดดังกล่าว

อย่างไรก็ดี สมัครเล่น UFABET โครงการใหม่นี้ควรมีการแก้ปัญหาโดยการเป็นตัวแทนระหว่างตลาด ผู้ผลิต และธุรกิจเรือนเพาะชำซึ่งการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกันนี้ได้เอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจเรือนเพาะชำอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากที่ตอนนี้มีหลายบริษัทติดต่อบริษัท มาสึดา ซีด เพื่อขอเข้าร่วมเป็นผู้ค้าในโครงการใหม่นี้แล้วจัดตั้งรูปแบบเกษตรกรรมใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอลอย่างเต็มที่โครงการเกษตรกรรมอัจฉริยะในเขตอิวาตะจะจัดตั้งรูปแบบเกษตรกรรมใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิตอล เช่น เซ็นเซอร์ระบบเครือข่าย และระบบคลาวด์อย่างเต็มที่ โดยจะเริ่มจากการตอบสนองอุปสงค์ของตลาดที่มีความต้องการมะเขือเทศ พริกหยวก และผักคะน้าอย่างมาก

โรงงานเพาะปลูกจะประกอบด้วยเรือนกระจกขนาดใหญ่หลายหลังจะสร้างไว้ในเมืองอิวาตะ จังหวัดชิซูโอกะ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีปริมาณแสงแดดมากกว่าเฉลี่ยของประเทศถึงร้อยละ 15 ต่อปี ดังนั้นจึงเหมาะแก่การปลูกพืชในเรือนกระจกอย่างยิ่ง ในการวัดอุณหภูมิความชื้นระดับคาร์บอนไดออกไซด์ และความเข้มข้นของสารไฮโดรโปนิกส์จะมีการใช้เซ็นเซอร์ที่จะติดตั้งไว้ในเรือนกระจกเหล่านี้ข้อมูลที่เซ็นเซอร์นี้จับได้จะส่งไปจัดเก็บที่คลาวด์ของระบบอาหารและเกษตรกรรม “Akisai” ของฟูจิตสึ การติดตามอุณหภูมิในห้องเรือนกระจกแบบเรียลไทม์จากทางไกล

รวมทั้งการเปิดและปิดหน้าต่างการเริ่มและหยุดพัดลมดูดอากาศ การควบคุมอุณหภูมิ อากาศ และฟังก์ชั่นอื่นๆ ที่มีการดำเนินการจากทางไกล ทั้งหมดจะค่อยๆ ช่วยสร้างความเข้าใจทางด้านเทคนิคเกี่ยวกับวิธีบำรุงรักษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมที่สุด สำหรับการปลูกพืชผักในอนาคต ข้อมูลประสิทธิภาพการเพาะปลูกที่มีการจัดเก็บไว้ใน Akisai จะรวมการตั้งค่าเซ็นเซอร์ที่เหมาะสมที่สุดสำหรับเมล็ดพันธุ์แต่ละชนิดเอาไว้ด้วย นอกจากนี้ จะมีการรวบรวมวิธีการควบคุมสภาพแวดล้อมเรือนกระจกเข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาธุรกิจการออกใบอนุญาตที่จะให้ได้มาซึ่งผลิตผลและคุณภาพที่มีความเสถียร

นาย ทาเคชิ ชูโดะ รองผู้จัดการหน่วยงาน สำนักวางแผนนวัตกรรมแบบเปิดด้านเกษตรกรรมและอาหาร ประจำหน่วยธุรกิจด้านนวัตกรรมของฟูจิตสึ กล่าวว่า วัตถุประสงค์ของบริษัทคือการเป็นกำลังขับเคลื่อนสำคัญที่สนับสนุนนวัตกรรมด้านเกษตรกรรมในประเทศญี่ปุ่น ผ่านการสร้างสรรค์ธุรกิจร่วมกัน และเพื่อให้มีส่วนช่วยในการทำให้เศรษฐกิจระดับภูมิภาคกลับมาคึกคักอีกครั้งผ่านภาคการเกษตรหน้าจอติดตามดูสภาวะของเรือนเพาะชำ